รายละเอียดโครงการวิจัย

ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :
การสร้างความเข้มแข็งให้โรงสีข้าวสามารถแข่งขันได้ โดยการออกแบบและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา : โรงสีข้าวจังหวัดนครสวรรค์
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ลักษณะโครงการวิจัย :
โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :
ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :
โครงการวิจัยใหม่
วันเริ่มต้นโครงการ :
1 ตุลาคม 2560
วันสิ้นสุดโครงการ :
1 ตุลาคม 2561
ประเภทของการวิจัย :
การวิจัยและพัฒนา
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :
         แนวคิดสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้โรงสีข้าวสามารถแข่งขันได้ โดยการออกแบบและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา : โรงสีข้าวจังหวัดนครสวรรค์ เนื่องจากข้าวเปลือกเป็นผลิตผลหลักที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย โดยเกษตรกรส่วนใหญ่จะทำนาปีละ 2 ครั้งคือข้าวนาปรังและข้าวนาปี ข้าวนาปรังจะปลูกในนอกฤดูฝน ส่วนข้าวนาปีจะทำนาในฤดูฝนและจะเก็บราวเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ทำให้เกิดปัญหาความชื้นในเมล็ดข้าวเปลือกสูงถึง 28 เปอร์เซ็นต์ โดยทั่วไปเกษตรกรจะทำการขายข้าวเปลือกให้โรงสีข้าวในท้องถิ่นทันทีหลังจากการเก็บเกี่ยว ซึ่งทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ขายข้าวเปลือกได้ในราคาที่ต่ำกว่ามาตรฐาน เพราะรัฐบาลและโรงสีข้าวมีข้อกำหนดในการรับซื้อข้าวเปลือกที่ระดับความชื้น 15 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นความชื้นที่เหมาะสมต่อการแปรรูปและเก็บรักษาต่อไป ดังนั้นความชื้นข้าวเปลือกมีบทบาทสำคัญในการกำหนดราคาข้าว ซึ่งความชื้นข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวในระยะที่เหมาะสมมีราคาสูงกว่าข้าวเปลือกที่อยู่ในช่วงเปอร์เซ็นต์ความชื้นสูง เนื่องจากข้าวเปลือกที่มีความชื้นเหมาะสมสามารถนำมาสีข้าวให้ได้ปริมาณข้าวต้นสูงและข้าวไม่แตกหักเป็นข้าวปน แต่หากรับซื้อข้าวที่มีความชื้นสูงต้องเสียค่าใช้จ่ายในการลดความชื้นและสูญเสียน้ำหนักข้าวหลังการลดความชื้นเป็นปริมาณมาก ที่มาของการสร้างความเข้มแข็งให้โรงสีข้าวสามารถแข่งขันได้ โดยการออกแบบและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา : โรงสีข้าวจังหวัดนครสวรรค์ สืบเนื่องจากได้ลงพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานต่างๆดังต่อไปนี้ (1) พีระพงษ์ วงษ์ทหาร ตำแหน่ง ที่ปรึกษาเทคโนโลยี (ITA) โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย iTAP เครือข่าย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดูแลโครงการด้านโรงสีข้าว (2) ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยไชยโยเอ็นจิเนียริ่ง สรุปได้ว่าปัญหาของโรงสีข้าวจากการศึกษาข้อมูล สำรวจ และวิเคราะห์ ณ สถานประกอบการโรงสีข้าวขนาดใหญ่ในจังหวัดนครสวรรค์ที่มีกาลังการผลิตข้าวกล้องตั้งแต่ 400 – 1,000 ตันข้าวเปลือกต่อวัน พบว่าความสามารถในการอบรวมที่ 500 ตันข้าวเปลือกต่อวันขึ้นไป แต่มีเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นต่ำที่ 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งต่ำมาก ทั้งนี้มีสาเหตุจาก 1) กาลังเตาอบต่ำที่ 500 ตันข้าวเปลือกทำให้เร่งการอบโดยการเพิ่มอุณหภูมิการอบ ทำให้เกิดการแตกหักสูง 2) เตาเผาแกลบให้ความร้อนสำหรับเตาอบไม่พอ 3) ระบบการวางท่อลมไม่เหมาะสมทำให้การไหลของลมต่ำที่ 14-17 เมตรต่อวินาที 4) พนักงานไม่เข้าใจในการอบข้าวที่ถูกต้อง ความสำคัญที่ต้องวิจัยเพราะหากปล่อยให้สถานการณ์ปัญหาของโรงสีข้าวเพิ่มมากขึ้น ไม่ได้รับการแก้ไขในด้านกระบวนการอบแห้งข้าวเปลือก จะทำให้โรงสีข้าวไม่สามารถผลิตข้าวที่มีคุณภาพและไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ ดังนั้นการสร้างความเข้มแข็งให้โรงสีข้าวสามารถแข่งขันได้ โดยการออกแบบและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา : โรงสีข้าวจังหวัดนครสวรรค์ จึงเป็นงานวิจัยที่มีความสำคัญต่อการแก้ปัญหาของโรงสีข้าวในจังหวัดนครสวรรค์เป็นอย่างมาก
วัตถุประสงค์ของโครงการ :
โรงสีข้าวได้รูปแบบของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์
ขอบเขตของโครงการ :
7.1 ขอบเขตพื้นที่: พื้นที่โรงสีข้าว จังหวัดนครสวรรค์ 7.2 ขอบเขตเวลา: ช่วงเวลาที่ดำเนินการวิจัยเป็นระยะเวลา 1 ปี 7.3 ขอบเขตประชากร/ กลุ่มตัวอย่าง: โรงสีข้าว หจก.สมบูรณ์ธัญญะเจริญ พื้นที่ชุมชนนครสวรรค์ 7.4 ขอบเขตตัวแปรและเนื้อหา: การออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.1จะได้องค์ความรู้สำคัญคือการออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ 11.2 จะได้พัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ 11.3 จะได้รูปแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ 11.4 จะได้ผลลัพธ์ของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :
         13.1 วิธีการดำเนินการวิจัย 13.1.1 สำรวจข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อชี้ให้เห็นถึงการออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ แสดงดังรูปที่ 15 1) เป้าหมาย ทราบปัญหา และสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงค้นหาแนวทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) วิธีทำโดยสังเขป 1) ก่อนการทำงานวิจัย 1) ก่อนการทำงานวิจัย สำรวจข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1) ทราบปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น 2) ได้ทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา สำรวจข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1) ทราบปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น 2) ได้ทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากโรงสีข้าว โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากโรงสีข้าว 2) หลังการทำงานวิจัย 2) หลังการทำงานวิจัย รูปที่ 15 สำรวจข้อมูลเบื้องต้น 13.1.2 สำรวจข้อมูลเบื้องต้น เพื่อชี้ให้เป็นถึงสภาพปัญหาการออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ แสดงดังรูปที่ 16 รูปที่ 16 การสำรวจข้อมูลเบื้องต้นจากกลุ่มคลัสเตอร์ข้าวจังหวัดนครสวรรค์ 13.1.3 ตรวจสอบและวิเคราะห์สภาพปัญหาการการออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ เพื่อชี้ให้เห็นถึงการแก้ปัญหาที่เป็นจริงและนำไปสู่การกำหนดเป้าหมายงานวิจัย รวมถึงนำทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์และประยุกต์ให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดแสดงดังรูปที่ 17 1) เป้าหมาย วิเคราะห์และสรุปปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งประยุกต์ทฤษฎี รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้เป้าหมายและแผนงานวิจัยที่สอดคล้องกับการแก้ปัญหา 2) วิธีทำโดยสังเขป เพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น นำข้อมูล มาตรวจสอบและวิเคราะห์ นำข้อมูล มาตรวจสอบและวิเคราะห์ เป้าหมายและแผนงานวิจัยที่สอดคล้องกับการแก้ปัญหา ความต้องการของโรงสีข้าว เป้าหมายและแผนงานวิจัยที่สอดคล้องกับการแก้ปัญหา ความต้องการของโรงสีข้าว แก้ปัญหาประสิทธิภาพ แก้ปัญหาประสิทธิภาพ รูปที่ 17 ตรวจสอบและวิเคราะห์สภาพปัญหา 13.1.4 จัดทำการออกแบบและพัฒนาระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ โดยนำผลการตรวจสอบเบื้องต้นและโดยละเอียดมาจัดทำเป้าหมายและแผนงานวิจัย แสดงดังรูปที่ 18 1) เป้าหมาย เขียนแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ แบบโครงสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ วิธีทำโดยสังเขป แบบโครงสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ออกแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ออกแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเขียนแบบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเขียนแบบ เขียนแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เขียนแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ แบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ แบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ รูปที่ 18 การออกแบบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ 13.1.5 ปฏิบัติตามเป้าหมายการสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์เป็นไปตามเป้าหมายและแผนที่กำหนดไว้ แสดงดังรูปที่ 19 1) เป้าหมาย ได้เทคโนโลยีของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสามารถใช้งานได้จริง โครงสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ วิธีทำโดยสังเขป โครงสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ การสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เเทคโนโลยีของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ การสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เเทคโนโลยีของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ดำเนินการสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ตามแบบ ดำเนินการสร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ตามแบบ แบบระบบการทำงานระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ แบบระบบการทำงานระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ รูปที่ 19 สร้างระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ 13.1.6 ดำเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์ระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ แสดงดังรูปที่ 20 1) เป้าหมาย ได้เทคโนโลยีของระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งให้มากขึ้น โดยประเมินเปอร์เซ็นต์ข้าวต้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสามารถใช้งานได้จริง 2) วิธีทำโดยสังเขป ทดลองระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ทดลองระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ผลการทดสอบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติตามแบบ ผลการทดสอบระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ ระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติตามแบบ รูปที่ 20 ทดลองระบบอบแห้งข้าวเปลือกแบบอัตโนมัติ
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :
-
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ :
ลำดับที่ รายชื่อ ประเภทนักวิจัย บทบาทหน้าที่ สัดส่วน

สถาบันวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศูนย์การศึกษาย่านมัทรี
398/1 หมู่ 3 ตำบลย่านมัทรี อำเภอพยุหะคีรี
จังหวัดนครสวรรค์ 60130

หมายเลขโทรศัพท์

056-219100 ต่อ 1139 งานวิจัย