รายละเอียดโครงการวิจัย

ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :
ค่านิยมประชาธิปไตยของประชาชนไทย
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :
Democratic values of the Thai peoples
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัย :
โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :
ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :
โครงการวิจัยใหม่
วันเริ่มต้นโครงการ :
11 พฤศจิกายน 2558
วันสิ้นสุดโครงการ :
10 พฤศจิกายน 2559
ประเภทของการวิจัย :
งานวิจัยพื้นฐาน(ทฤษฎี)/บริสุทธิ์
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :
         โลกปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างสิ้นเชิง ทั้งด้านความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมากจากการพัฒนา เป็นผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ค่านิยมวัฒนธรรม ไปจนถึงเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนเปลี่ยนจากโลกแห่งเครื่องจักรกลเป็นโลกแห่งดิจิทัลภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว นอกจากเทคโนโลยีแล้ว กระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) เป็นหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเทคโนโลยีสารสนเทศได้เขามีบทบาทในการขับเคลื่อนโลกให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จากการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหวางประเทศ องค์กร บุคคล ทำได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วขึ้นไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของโลก (ฟิลลิปต์ คอตเลอร์, 2553) กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่าโลกาภิวัตน์ มีอิทธิผลต่อความคิดและการประพฤติปฏิบัติของสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการบริหาร และกล่าวได้ว่า เมื่อสังคมไทยรับอุดมการณ์และแนวคิดการพัฒนาตามแบบตะวันตกที่มุ่งเน้นการแข่งขัน การบริโภค และการสร้างความต้องการเชิงเศรษฐกิจ ประกอบกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ ทำให้สังคมเศรษฐกิจไทยผนวกเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมเศรษฐกิจโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
วัตถุประสงค์ของโครงการ :
1. เพื่อการศึกษา และสังเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับค่านิยมประชาธิปไตยของประชาชนไทย 2.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่านิยมประชาธิปไตยของประชาชนไทยจำแนกตามตัวแปรอิสระ
ขอบเขตของโครงการ :
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับค่านิยมประชาธิปไตยของประชาชนไทย 2. ได้สารสนเทศเกี่ยวกับ ค่านิยมประชาธิปไตยของประชาชนไทย 3. ตอบสนองยุทธศาสตร์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในยุทธศาสตร์การเพิ่มมาตรฐานการศึกษาและความสามารถในการแข่งขันของประเทศควบคู่การสื่อสานคุณค่าของวิถีไทยกลยุทธ์ที่ 1 การสร้างและพัฒนางานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและวิจัย เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ท้องถิ่น 4. เป็นการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ในงานวิจัยทางการรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสตร์ 5. ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการทางรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสตร์และวิจัย ทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :
         
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :
-
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ :
ลำดับที่ รายชื่อ ประเภทนักวิจัย บทบาทหน้าที่ สัดส่วน
1 นายอดุลเดช ถาวรชาติ นักวิจัยภายในมหาวิทยาลัย หัวหน้าโครงการวิจัย 60%
2 นายสมญา อินทรเกษตร นักวิจัยภายในมหาวิทยาลัย ผู้ร่วมวิจัย 40%

สถาบันวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศูนย์การศึกษาย่านมัทรี
398/1 หมู่ 3 ตำบลย่านมัทรี อำเภอพยุหะคีรี
จังหวัดนครสวรรค์ 60130

หมายเลขโทรศัพท์

056-219100 ต่อ 1139 งานวิจัย